ศัพท์เทคนิคที่ใช้ในการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง
• Format clocks การวางเวลาในการจัดรายการ
• Jingle เพลงสั้น เพื่อเป็นตัวบอกช่วงต่าง ๆ เช่น ช่วงเกมส์ ช่วงกลางวัน
• I.D. Station จิงเกิ้ลอย่างเป็นทางการประจำสถานี
• Drop In เสียงสั้น ๆ ใช้ในวาระต่าง ๆ
• Dry Voice เสียงเปล่า ๆ ไม่มีดนตรี และ ซาวนด์เอฟเฟ็ค
• Fade In เสียงค่อย ๆ ดังขึ้น
• Fade Out เสียงค่อย ๆ เบาลง
• Fade Under ลดเสียงให้เบาลงกว่าเสียงอื่น ๆ เช่น คำพูด หรือ เสียงสัมภาษณ์
• Background Music เพลงประกอบ เพลงฉากหลัง
• Dead Air ไม่มีเสียงออกอากาศ เสียงเงียบ
• On Air ออกอากาศ
• Live รายการสด
• Vox Pop เสียงสัมภาษณ์สั้น ๆ เพื่อแสดงความคิดเห็น
• Phone In การโทรเข้าไปในรายการวิทยุ
• Talk Back เสียงโต้ตอบ
• Prime Time ช่วงเวลาที่มีผู้ฟังมาก ๆ
• Radio Spot โฆษณาในรายการวิทยุ
• Promo Spot โฆษณา
• SFX เสียงประกอบที่มีตามธรรมชาติ เช่น เสียงปรบมือ เสียงรถวิ่ง
• Special FX เสียงประกอบที่ไม่มีตามธรรมชาติ เช่น เสียง Robot
• Commercial Spot โฆษณาสินค้า
• Feature สารคดี
• Single เพลง 1 เพลงที่ส่งมาจากค่ายเพลง
• E.P. Extended Play แผ่นที่วางจำหน่ายทั่วไป มีเพลง 5- 7 เพลง
• Target Audience กลุ่มผู้ฟัง
• Style ลีลาการพูด
• Air Time เวลาออกอากาศ
• Programme Director ผู้อำนวยการผลิต
• Producer ผู้ผลิตรายการ
• Creative Team กลุ่มนักสร้างสรรค์
• Presenter or DJ ผู้ดำเนินรายการ
• Programme-Co ผู้ช่วยผู้ดำเนินรายการ
• Announcer ผู้ประกาศ
• Technician ช่างเทคนิค
• Specialist or Guest Speaker วิทยากรหรือแขกรับเชิญ
• Radio Studio ห้องจัดรายการวิทยุ
• Master Control Room ห้องควบคุมหลัก
• Studio Recording ห้องบันทึกเสียง
• Editing room ห้องตัดต่อ
• Source แหล่งเสียงต่างๆ
• Disc Jockey การประกาศในรายการเพลง
• Talk Show รายการสนทนา
คำต่าง ๆ ของการจัดอันดับเพลงรวมทั้งการรายงานชาร์ต
• New Release, New Comer เพลงที่เพิ่งมาใหม่
• New Entry เข้าอันดับใหม่ สัปดาห์แรก
• Hi Position ตำแหน่งสูงสุดในชาร์ต
• Highest entry เข้าอันดับสูงสุดประจำสัปดาห์
• Re entry หลุดจากชาร์ตไปแล้ว เข้ามาใหม่
คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับประเภทดนตรี หรือหมวดดนตรี
• Acappella (อะคาเปลลา) แต่เดิม หมายถึง เพลงโบสถ์ขับร้องหมู่สมัยโบราณ ซึ่งไม่ใช้เครื่องดนตรี
คลอ ปัจจุบัน หมายถึง เพลงขับร้องหมู่ที่ไม่ใช้เครื่องดนตรี คลอเช่น
เดียวกัน แต่ที่เปลี่ยนไปคือไม่จำกัด ว่าจะเป็นเพลงโบสถ์หรือไม่ คำนี้มีราก
ศัพท์ มาจากคำอิตาเลี่ยน มีความหมายว่า chapel (หมายถึง โบสถ์)
• Acoustics วิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยเสียงร้อง ครอบคลุมเนื้อหาเกี่ยวกับการเกิดเสียง,การ
ส่งผ่านของเสียง,การผันแปรของเสียงธรรมชาติ ทางวิทยาศาสตร์ของเสียง
ดนตรี และอื่นๆที่ เกี่ยวกับเสียงและเสียงดนตรี
• Background ดนตรีประกอบภาพยนตร์ รวมไปถึงรายการวิทยุ ,รายการโทรทัศน์ ฯลฯ
เพื่อโน้มน้าวใจช่วยให้เรื่องราวสมจริง หรือเพื่อเพิ่มความเพลิดเพลินแก่ผู้
ชมและผู้ฟัง
• Ballad (แบลลัด) คำว่า ‘แบลลัด’ มาจากภาษาลาติน ballare หมายถึง "เต้นรำ" เดิมคำนี้เป็น
เพลงร้องสำหรับเต้นรำเพลงหนึ่งต่อมาได้กลายเป็นเพลงขับร้องเดี่ยว และ
มักจะเป็นการเล่าเรื่องราวต่างๆ
• Band (แบนด์) กลุ่มนักดนตรี
• Bar (บาร์) การกำหนดระยะของจังหวะทางดนตรี
• Beat (บีท) จังหวะ หรือจังหวะพื้นฐานในใจ จังหวะเคาะหรือนับของห้องแต่ละห้อง
เช่น 4/4 ประกอบด้วยสี่จังหวะ หรือการนับได้สี่ครั้งในหนึ่งห้อง 2/4
ประกอบด้วยสองจังหวะ หรือ การนับได้สองครั้งในหนึ่งห้อง
• Chorus (คอรัส) 1. กลุ่มนักร้อง
2. ดนตรีสำหรับกลุ่มนักร้อง
3. ส่วนที่ต้องร้องซ้ำในบทเพลง ตามหลังส่วน ที่เป็นบทร้องกึ่งเจรจา
• Concert (คอนเสิร์ต) การแสดงดนตรีต่อหน้าสาธารณชน
• Duet (ดูเอ็ด) บทประพันธ์สำหรับผู้เล่นสองคน
• Improvisation(อิมโพรไว้เซชัน) การเล่นดนตรีอย่างพลิกแพลงโดยใส่กลเม็ด
เด็ดพรายเอาเอง ไม่ได้เตรียมไว้หรือถูก
กำหนดล่วงหน้ามาก่อน
• Lyrics (ไลริกซ์) เนื้อร้อง
• Hook (ฮุก) ท่อนสร้อย